โทรศัพท์

044-815111

อีเมล์

officer@cpru.ac.th

เวลาเปิด

จันทร์ - ศุกร์: 8:30 - 16:30

ประเด็นยุทธศาสตร์

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 สนับสนุนการผลิตบัณฑิตและบริการวิชาการ

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 บริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมและพัฒนาสมรรถนะบุคลากร

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนางานบริการด้วยเทคโนโลยี

 

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 สนับสนุนการผลิตบัณฑิตและบริการวิชาการ

  1. เป้าหมาย

ส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตบัณฑิตตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ และบริการวิชาการ

 

  1. ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย

ผลลัพธ์

(พิจารณาจาก แผนยุทธ์ศาสตร์มหาวิทยาลัย
+ ประกันคุณภาพการศึกษา)

หน่วยนับ

เป้าหมาย

สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการมหาวิทยาลัย

ผู้รับผิดชอบ

67

68

69

70

O1 สนับสนุนการผลิตบัณฑิตตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ และการบริการวิชาการ

KR1 ร้อยละของศิษย์เก่าที่เข้าร่วมโครงการโดยใช้ฐานข้อมูลศิษย์เก่า
ในปีที่ประเมิน

ร้อยละ

80

80

80

80

3

งานกิจการนักศึกษา/

กองกลาง

KR2 คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ

คะแนนเฉลี่ย

3.51

3.51

3.51

3.51

3

งานกิจการนักศึกษา/

กองกลาง

KR3 ชุมชนท้องถิ่นที่มีส่วนร่วมในการส่งเสริมทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมเพื่อสร้างมูลค่า/สืบสาน/รักษา/ต่อยอด/การพัฒนาองค์ความรู้ภูมิปัญญา ท้องถิ่นต่อชุมชนท้องถิ่น

จำนวน

50

60

70

80

1

งานพิธีและศิลปวัฒนธรรม

 

แนวทางการพัฒนา (เน้นนวัตกรรมทางความคิด+วิธีการทำงานใหม่ให้สำเร็จตามแผนงาน)

  1. ส่งเสริมสนับสนุนการผลิตบัณฑิต ด้านสังคมศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ให้มีความรู้คุณธรรม จริยธรรม จิตสำนึก จิตอาสา รักษาทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อม จิตสาธารณะในการช่วยเหลือชุมชนและท้องถิ่นมุ่งเน้นความเข้มแข็งทางวิชาการและวิชาชีพ ส่งเสริมทักษะด้านภาษา ทักษะทางด้านวิชาชีพและด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสอดคล้องกับการพัฒนาเชิงพื้นที่และความต้องการของประเทศ
  2. ส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต lifelong learning พัฒนาหลักสูตรบูรณาการข้ามศาสตร์
    /ข้ามคณะที่เชื่อมโยงการผลิตบัณฑิตที่มีทักษะด้านภาษาสากลและส่งเสริมการพัฒนาระบบทดสอบภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิตสู่มาตรฐานสากล ส่งเสริมการเรียนสายทักษะวิชาชีวิตและสายทักษะวิชาชีพ ควบคู่กับการเรียนทักษะวิชาการ พัฒนาหลักสูตรบูรณาการข้ามศาสตร์/ข้ามคณะ เพื่อ Up skill Re skill และ new skill
  3. ส่งเสริมสนับสนุนผลิตบัณฑิตให้มีอัตลักษณ์ที่โดดเด่นด้าน “จิตอาสา” และ “วิศวกรสังคม” พร้อมด้วยทักษะด้านภาษาอังกฤษ เทคโนโลยี และการนำเสนอต่อสาธารณะชน เป็นบัณฑิตที่พร้อมปฏิบัติงานเชิงพื้นที่
    ในทุกสถานการณ์บัณฑิตครูที่มีฐานสมรรถนะตอบสนองบริบทเชิงพื้นที่
  4. สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนเพื่อเสริมสร้างบรรยากาศการเรียนรู้เชิงรุกการเรียนรู้ตลอดชีวิต เกี่ยวกับห้องปฏิบัติการ ศูนย์การเรียนรู้พื้นที่เพื่อการเรียนรู้สื่อประสม เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการเรียนรู้และเข้าถึงแหล่งความรู้ในลักษณะของการเรียนรู้แบบผสมผสาน
  5. ส่งเสริมสนับสนุนการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมไปบริหารจัดการใหเกิดความสมดุลระหว่างการอนุรักษและการใชประโยชนเพื่อความยั่งยืนของฐานทรัพยากรและความหลากหลายทางชีวภาพของชุมชน

         แผนงาน/โครงการ

1) โครงการ CWIE ปี-2567

2) โครงการ up skills re skills (อบรมสมาธิ)

3) โครงการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

4) โครงการส่งเสริมกีฬาและนันทนาการ

5) โครงการวันลอยกระทง

6) โครงการวันสำคัญของชาติศาสนา พระมหากษัตริย์

7) โครงการส่งเสริมมูลค่าเพิ่มศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และปลูกจิตสำนึกรักท้องถิ่น

 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 บริหารจัดการด้วยหลักธรรมาภิบาล

  1. เป้าหมาย
  2. มีระบบกลไกการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล
  3. มีผลการดำเนินงานการประเมินคุณธรรม และความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐที่สูงขึ้น
  4. มีกฎระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศมหาวิทยาลัยที่ปรับปรุงแก้ไข

           

  1. ผลลัพธ์ และค่าเป้าหมาย

ผลลัพธ์

หน่วยนับ

เป้าหมาย

สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการมหาวิทยาลัย

ผู้รับผิดชอบ

67

68

69

70

O1 บริหารจัดการมหาวิทยาลัยด้วยธรรมาภิบาล 

KR1 ร้อยละของผลเบิกจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์มาตรการเบิกจ่าย

ร้อยละ

90

90

90

90

4

กองนโยบายและแผน

KR2 ผลการประกันคุณภาพการศึกษา

คะแนน

4.85

4.90

4.95

5.00

4

งานประกันคุณภาพการศึกษางานประกันคุณภาพการศึกษากองนโยบายและแผน

KR3 ผลการดำเนินงานการประเมินคุณธรรม และความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐ

ระดับ

80

 

85

 

85

 

85

 

4

งานประกันคุณภาพการศึกษากองนโยบายและแผน

KR4 จำนวนกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศของมหาวิทยาลัย ที่พัฒนาปรับปรุงแก้ไข

เรื่อง

2

3

4

5

4

กองกลาง

งานบริหารทรัพยากรบุคคล

KR5 ร้อยละความสำเร็จของกระบวนการการลดขั้นตอน

ร้อยละ

80

80

80

80

4

ทุกหน่วย

งาน/กองกลาง

KR6 ผลการประเมินคุณภาพการดำเนินงาน สำนักงานอธิการบดี

ระดับ

ดีมาก

ดีมาก

ดีมาก

ดีมาก

4

ทุกหน่วย

งาน/กองกลาง

 

  1. แนวทางการพัฒนา (เน้นนวัตกรรมทางความคิด+วิธีการทำงานใหม่ให้สำเร็จตามแผนงาน)
  2. 1. ส่งเสริมและสนับสนุนกระบวนการทำงานด้วยหลักธรรมาภิบาลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานและการให้บริการของหน่วยงานในด้านต่าง ๆ การปรับเปลี่ยนกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และหลักเกณฑ์ภายในต่าง ๆ
    ของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อเป็นเครื่องมือให้หน่วยงานปฏิบัติตามกระบวนการบริหารความเสี่ยงอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ และกลยุทธ์ของมหาวิทยาลัย ให้เกิดความคล่องตัวและเอื้อ
    ต่อการทำงานของบุคลากรที่เน้นผลลัพธ์ ความสำเร็จของงาน รวมไปถึงเป็นแนวทางในการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล สามารถวางแผนรับมือกับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น
    ในอนาคต
  3. 2. ส่งเสริมและสนับสนุนการบริการของหน่วยงานภายใน การให้บริการแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ One-Stop Service
  4. 3. ปรับปรุงแก้ไข และพัฒนากฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หลักเกณฑ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานของมหาวิทยาลัยให้มีความทันสมัย เกิดความคล่องตัว ตอบสนองต่อการดำเนินงานตามพันธกิจและภารกิจ
    ให้สอดคล้องกับกฎกระทรวงจัดตั้งส่วนราชการฯ และให้สอดคล้องกับมหาวิทยาลัย กลุ่มที่ 3 พัฒนาชุมชนท้องถิ่นหรือชุมชนอื่น
  5. ส่งเสริมและสนับสนุน ให้ทุกหน่วยงานภายในสำนักงานอธิการบดีมีการจัดทำ พัฒนา ปรับปรุง แก้ไข คู่มือมาตรฐานการปฏิบัติงาน คู่มือมาตรฐานการให้บริการ นำไปเผยแพร่และใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการ
    เรื่องต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัย
  6. กำหนดรูปแบบ วิธีการ การรายงานข้อมูลเชิงสถิติในการให้บริการ การดำเนินงาน ตามภารกิจต่าง ๆ ของทุกหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย เพื่อรายงานผู้บริหาร คณะกรรมการ สภามหาวิทยาลัย เพื่อใช้ประกอบการบริหารจัดการการตัดสินใจในเรื่องๆ

 

  1. โครงการหลัก
  2. โครงการบริหารจัดการการบริหารคณะกรรมการสำนักงานอธิการบดี (ค.ส.อ.)
  3. โครงการบริหารจัดการกองกลางสู่ความเป็นเลิศ (งานบริหารทั่วไป)
  4. โครงการวันสถาปนามหาวิทยาลัย (งานบริหารทั่วไป)
  5. โครงการบริหารจัดการงานบริหารทั่วไป

 

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ส่งเสริมและพัฒนาสมรรถนะบุคลากร

  1. เป้าหมาย
  2. บุคลากรสำนักงานอธิการบดีได้รับการพัฒนาสรรถนะตามสายงานที่ปฏิบัติ
  3. บุคลากรมีทักษะและความเชี่ยวชาญตามสายงานที่ปฏิบัติ
  4. บุคลากรมีความก้าวหน้าในระดับตำแหน่งที่สูงขึ้น

 

  1. ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย

ผลลัพธ์

หน่วยนับ

เป้าหมาย

สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการมหาวิทยาลัย

ผู้รับผิดชอบ

67

68

69

70

O1 บุคลากรมีสมรรถนะสอดคล้องตามสายงาน มีทักษะรองรับการเปลี่ยนแปลง

KR1 บุคลากรสำนักงานอธิการบดี ได้รับการพัฒนาสรรถนะตามสายงานreskill/upskill/new skill ตามแผนการพัฒนาบุคลากรรายบุคคล (IDP)

ร้อยละ

80

90

90

80

4

งานบริหารทรัพยากรบุคคล

KR2 จำนวนตำแหน่งภายในสำนักงานอธิการบดีที่ผ่านกระบวนการวิเคราะห์และประเมินค่างานเพื่อกำหนดระดับตำแหน่งให้สูงขึ้น

ตำแหน่ง/ปี

10

15

15

10

4

งานบริหารทรัพยากรบุคคล

KR3 จำนวนผลงานทางวิชาชีพ (คู่มือการปฏิบัติงานหลัก/ผลงานเชิงวิเคราะห์-สังเคราะห์/ผลงานวิจัย และอื่น ๆ) ของบุคลากรในสังกัดสำนักงานอธิการบดีได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ และนำไปใช้ประโยชน์

เรื่อง/ปี

5

7

9

12

4

งานบริหารทรัพยากรบุคคล

KR4 จำนวนบุคลากรที่ยื่นและได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งที่สูงขึ้น

คน/ปี

2

2

3

3

4

งานบริหารทรัพยากรบุคคล

 

  1. แนวทางการพัฒนา (เน้นนวัตกรรมทางความคิด+วิธีการทำงานใหม่ให้สำเร็จตามแผนงาน)
  2. การพัฒนาสมรรถนะบุคลากรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี เป็นต้นแบบคนของพระราชา
    เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน (1) ปรับ Mindset ของบุคลกรในการทำงาน (2) ดึงความเชี่ยวชาญของบุคลากร (3) ให้ความรู้ พัฒนาสมรรถนะ รวมทั้งใช้กระบวนการวิศวกรสังคมเป็นกลไกในการพัฒนาบุคลากร
    (4) ปรับเปลี่ยนวิธีการทำงานและพัฒนาเครื่องมือสู่การปฏิบัติ
  3. ส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรทุกระดับตำแหน่งให้มีความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานที่สนับสนุนการดำเนินงานขององค์กร มุ่งพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะให้สูงขึ้น เอื้อต่อการเปลี่ยนแปลงและสร้างนวัตกรรมองค์กร ส่งเสริมการเรียนรู้ การจัดการความรู้ในองค์กรเพื่อสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้พัฒนาทักษะดิจิทัล
  4. พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีสมรรถนะและความเชี่ยวชาญเป็นที่ยอมรับในระดับชาติ
  5. การแสวงหาและแลกเปลี่ยนความรู้ความเชี่ยวชาญด้านวิชาชีพ จากหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ภายในประเทศ

 

  1. โครงการหลัก
  2. โครงการส่งเสริมสมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากร กองกลาง
  3. การพัฒนาบุคลากรผู้ปฏิบัติงานด้านพัสดุ และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้างตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 (งานพัสดุ)
  4. การพัฒนาและศักยภาพของบุคลากรของบุคลากรสายงาน
  5. โครงการบริหารจัดการงานการเงินและบัญชี (งานการเงินและบัญชี)
  6. โครงการพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการมหาวิทยาลัย
  7. โครงการพัฒนาความก้าวหน้าในอาชีพของบุคลากรตามสายงาน
  8. โครงการพัฒนาสมรรถนะและทักษะสำหรับบุคลากร

 

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนางานบริการด้วยเทคโนโลยี

  1. เป้าหมาย
    1.ส่งเสริมภาพลักษณ์มหาวิทยาลัยเป็นที่รู้จักยอมรับของชุมชน ท้องถิ่น และประชาชนทั่วไป
    2.มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการให้บริการ
    3.นำระบบดิจิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการหน่วยงวานภายในให้ครอบคลุมทุกมิติ

 

2) ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย

ผลลัพธ์

หน่วยนับ

เป้าหมาย

สอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการมหาวิทยาลัย

ผู้รับผิดชอบ

67

68

69

70

1 การนำระบบดิจิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการครอบคลุมทุกมิติ

KR1 ร้อยละความสำเร็จของการนำเทคโนโลยีสารสนเทสเพื่อการบริหารและตัดสินใจ

-ด้านการบริหารงาน -ด้านแผนและงบประมาณ -ด้านการเงิน

-ด้านงานทะเบียน -ด้านงานพัสดุ

ร้อยละ

80

80

80

80

3

กองกลาง

2  การนำสารสนเทศไปใช้ในบริหารจัดการ การตัดสินใจ การวางแผน และเชื่อมโยงกับการยกระดับชุมชนท้องถิ่น

KR1 ส่งเสริมภาพลักษณ์มหาวิทยาลัยเป็นที่รู้จักยอมรับของชุมชน ท้องถิ่น และประชาชนทั่วไป

-สื่อสารภาพลักษณ์มหาวิทยาลัยให้เป็นที่รู้จักของชุมชน ท้องถิ่น และประชาชนทั่วไป

-ชุมชน ท้องถิ่น นักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไป รู้จักและให้การยอมรับมากยิ่งขึ้น

 

 

 

 

ระดับ

 

 

ระดับ

 

 

 

 

 

ดีมาก

 

ดีมาก

 

 

 

 

 

ดีมาก

 

ดีมาก

 

 

 

 

ดีมาก

 

ดีมาก

 

 

 

 

ดีมาก

 

ดีมาก

3

กองกลาง

KR2 ร้อยละความสำเร็จของการเชื่อมโยงฐานข้อมูลของหน่วยงาน

ร้อยละ

80

80

80

80

3

 

KR3 ร้อยละความสำเร็จของการพัฒนาระบบสารสนเทศ

ร้อยละ

80

80

80

80

3

 

KR4 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการดำเนินงาน

ร้อยละ

80

80

80

80

3

 

 

  1. แนวทางการพัฒนา (เน้นนวัตกรรมทางความคิด+วิธีการทำงานใหม่ให้สำเร็จตามแผนงาน)
  2. นำระบบดิจิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการครอบคลุมทุกมิติ เช่น ด้านการบริหารงาน ด้านแผนและงบประมาณ ด้านการเงิน ด้านงานทะเบียน และด้านงานพัสดุ เป็นต้น
  3. พัฒนาการให้บริการผ่านระบบดิจิทัล เพื่ออำนวยความสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส ตรวจสอบได้
  4. โครงการหลัก
  5. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติงานด้านธุรการ (งานบริหารทั่วไป)

การนำแผนปฏิบัติราชการ ระยะ 4 ปี สำนักงานอธิการบดี ไปสู่การปฏิบัติ

 การนำแผนปฏิบัติราชการ ระยะ 4 ปี สำนักงานอธิการบดี ไปสู่การปฏิบัติ เพื่อให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับแผนพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ โดยกำหนดเป้าหมาย ตัวชี้วัด และค่าเป้าหมาย แนวทาง
การพัฒนา และงานแผน/โครงการ เพื่อให้สำนักงานอธิการบดี มีความพร้อมสำหรับการเปลี่ยนแปลง
ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และสามารถสร้างศักยภาพในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพประสิทธิผล นำไปสู่
การบรรลุเป้าหมายการพัฒนามหาวิทยาลัยต่อไป

1) การรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

ในการจัดทำร่างแผนปฏิบัติราชการ สำนักงานอธิการบดี ได้ดำเนินการโครงการทบทวนและจัดทำแผนปฏิบัติราชการ เพื่อให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีส่วนร่วมในการกำหนดเป้าหมายและกลยุทธ์ในการขับเคลื่อนสำนักงานอธิการบดี พร้อมทั้งการเก็บข้อมูลความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของบุคลากรทุกฝ่ายแล้ว นำไปปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการ สำนักงานอธิการบดี ให้มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น

2) การถ่ายทอดแผนปฏิบัติราชการ ระยะ 4 ปี สำนักงานอธิการบดี

การนำแผนไปสู่การปฏิบัติเป็นเรื่องที่สำคัญอย่างมาก ดังนั้น ทุกหน่วยงานภายใต้สังกัดสำนักงานอธิการบดี จะต้องจัดทำแผนพัฒนาหน่วยงานให้สอดคล้องกับแผนสำนักงานอธิการบดี และมหาวิทยาลัย
โดยดำเนินการ ดังนี้

(1) แผนปฏิบัติราชการ ระยะ 4 ปี สำนักงานอธิการบดี

(2) แผนปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ สำนักงานอธิการบดี

– ดำเนินการตามคำรับรองการปฏิบัติราชการตามเป้าหมายแผนปฏิบัติราชการรายปี สำนักงานอธิการบดี

– ดำเนินการตามแผนงาน/โครงการ ตามแผนปฏิบัติราชการรายปี สำนักงานอธิการบดี

3) การติดตาม ประเมินผลสัมฤทธิ์ และการรายงานผลการดำเนินงาน

เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล และก่อให้เกิดการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องรวมไปถึงก่อให้เกิด การมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกระดับ สำนักงานอธิการบดีจึงสร้างระบบกลไกเพื่อควบคุม ติดตาม ประเมิน ผลสัมฤทธิ์ และรายงานผลการปฏิบัติงาน โดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมการฯ เพื่อติดตามและประเมินผล และ สรุปรายงานผลการดำเนินการตามแผนต่อมหาวิทยาลัย อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง